I Coach.
I Consult.
เป็นที่ปรึกษาให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
I Develop.
ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพหรือแก้ปัญหาให้กับหน่วยงาน
I Write.
พ.ศ. 2567 – ปัจจุบัน
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายทะเบียน
พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2567
ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายนวัตกรรมและวิสาหกิจ
พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2564
รักษาการผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิสาหกิจ
พ.ศ. 2564 – พ.ศ. 2567
ผู้อำนวยการศูนย์บริการทางวิชาการ
พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2564
ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมวิสาหกิจดิจิทัล
พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2563
ผู้อำนวยการสำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2564
ผู้อำนวยการหลักสูตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
พ.ศ. 2557 – ปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. 2556 – พ.ศ. 2558
หัวหน้าสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
พ.ศ. 2550 – ปัจจุบัน
อาจารย์ประจำคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (วิทยาลัยนวัตกรรมดิจิทัล)
พ.ศ. 2548 – พ.ศ. 2549
หัวหน้าฝ่ายพัฒนาเว็บไซต์ บริษัท เอสวี ลิสซิ่ง จำกัด
พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2556 ปริญญาเอก
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษา)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
พ.ศ. 2547 – พ.ศ. 2549 ปริญญาโท
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2547 ปริญญาตรี (เกียรตินิยมอันดับ 1)
วิทยาศาสตรบัณฑิต (การจัดการสารสนเทศ)
มหาวิทยาลัยรังสิต
– เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 4 จตุตถดิเรกคุณาภรณ์
– เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ชั้นที่ 5 เบญจมดิเรกคุณาภรณ์
– ผู้บริหารดีเด่น มหาวิทยาลัยรังสิต
– อาจารย์สอนดีเด่น 3 ปี ติดต่อกัน มหาวิทยาลัยรังสิต
– LINE Certified Coach for API 2023
– Certified Lead Auditor for ISO/IEC29110
– Microsoft Innovative Educator Experts
– ประกาศนียบัตรรับรองมาตรฐานอาชีพ นักพัฒนาระบบ ระดับ 4
– วิทยากร หลักสูตรการสร้างช่องทางการขายด้วย LINE SHOPPING จัดโดย ISMED และ SME-D-Bank (2566)
– ร่วมเสวนาในหัวข้อ Generative AI กับการเรียนการสอน จัดโดย วิทยาลัยเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (2566)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง เครื่องมือในการบริการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ Business Intelligence (2566)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง LINE Official Account สำหรับองค์และธุรกิจ ให้กับ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะ และประชาสัมพันธ์ สภาองค์กรของผู้บริโภค (2566)
– แขกรับเชิญในหัวข้อ สร้าง LINE เทพ ด้วย LINE API จัดโดย SME Networking Thailand
– วิทยากร หลักสูตรการสร้าง Chatbot ช่วยตอบคำถามใน LINE Official Account ใช้ Chatbot เพื่อลดภาระให้กับ Admin จัดโดย ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร หลักสูตรการสร้าง Chatbot ด้วย ChatGPT สำหรับตอบคำถามจากข้อมูลที่กำหนด จัดโดย ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร โครงการอบรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนา LINE Official Account สำหรับองค์กรหรือธุรกิจ ในยุคปัจจุบัน” ครั้งที่ 2 จัดโดย ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “เปลี่ยนตัวเองให้เป็น LINE Developer เพื่อพัฒนา LINE OA ที่เหนือกว่า” จัดโดย ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนา LINE Official Account สำหรับองค์กรหรือธุรกิจ ในยุคปัจจุบัน” จัดโดย ศูนย์บริการทางวิชาการ มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร โครงการอบรม แนวทางการปฏิบัติงานของ ตร.ม. เพื่อให้สอดคล้องตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จัดโดย สำนักงานตำรวจมหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร หัวข้อ ติดปีก…การจัดการเรียนการสอนหลังวิถีปกติใหม่ จัดโดย คณะพยาบาล มหาวิทยาลัยรังสิต (2565)
– วิทยากร โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้าน E-Commerce จัดโดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (2565)
– วิทยากรโครงการอบรมนักวิชาการคอมพิวเตอร์และพนักงานคอมพิวเตอร์ประจำหน่วยงานศาลยุติธรรมทั่วประเทศ หัวข้อ “การพัฒนา Line Chatbot เพื่อเพิ่มศักยภาพปฏิบัติงานและการให้บริการข้อมูล” จัดโดย สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรม (2562-2564)
– วิทยากรหลักสูตรการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้าระหว่างประเทศ สถาบันพัฒนาผู้ประกอบการการค้ายุคใหม่ (2564)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง ความฉลาดดิจิทัล จัดโดย มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก (2564)
– วิทยากร หลักสูตร การบริหารงานอุดมศึกษาระดับกลาง รุ่นที่ 1, 2 หัวข้อ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานอุดมศึกษา จัดโดย มหาวิทยาลัยบูรพา (2562-2563)
– วิทยากรโครงการอบรมความรู้ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักวิชาการคอมพิวเตอร์บรรจุใหม่ หัวข้อ “การพัฒนา API ด้วย Node.js + MySQL” จัดโดย สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรม (2563)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง ใช้ชีวิตอย่างไร ในโลกดิจิทัล จัดโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ (2562)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง หลักสูตร การบริหารงานอุดมศึกษาระดับกลาง หัวข้อ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานอุดมศึกษา จัดโดย มหาวิทยาลัยบูรพา (2562)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง Cybersecurity ภัยคุกคามและความร่วมมือในอาเซียน จัดโดย สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ (2561)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง รู้รอดปลอดภัยจากแฮกเกอร์ในยุคดิจิทัล 5G จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต (2561)
– ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ในรายการ เจาะข่าวเด็ด The Day News Update ช่อง MONO29 (2561)
– วิทยากรในหลักสูตรพัฒนาครู โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 หัวข้อ การประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนรู้ ยุคไทยแลนด์ 4.0 (2561)
– ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ในรายการ เจาะข่าวเด็ด The Day News Update ช่อง MONO29 (2561)
– ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการทำธุรกรรมผ่าน Mobile Banking ในรายการ ทันข่าวเช้า ช่อง MONO29 (2561)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง Cloud Computing จัดโดย ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) (2561)
– วิทยากรในงาน Open Forum ประเด็น “Cybersecurity กับ ประเทศไทย” จัดโดย สํานักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) (2561)
– วิทยากร หัวข้อ ผลกระทบนวัตกรรมเทคโนโลยีต่อระบบเศรษฐกิจและการจ้างงาน จัดโดย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต (2561)
– วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันด้วย AngularJS ณ WWW Academy มหาวิทยาลัยรังสิต (2560)
– วิทยากรบรรยายเรื่อง ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในชีวิตประจำวัน จัดโดย สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (2560)
– แขกรับเชิญในรายการ IT Click ประเด็น “การโจมตีโรคระบาดบนโลกไซเบอร์” จัดโดย RSU Wisdom TV (2560)
– แขกรับเชิญในรายการ Wisdom Talk ประเด็น “Mobile Application คืออะไร ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2” จัดโดย RSU Wisdom TV (2558)
– แขกรับเชิญในรายการ IT Click ประเด็น Google Nexus phones จัดโดย RSU Wisdom TV (2558)
– วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จากโครงงานสู่งานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
– วิทยากร เรื่อง การวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย มหาวิทยาลัยรังสิต
– วิทยากร เรื่อง งานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ณ ศูนย์ศึกษาวิภาวดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
– วิทยากร เรื่อง เทคนิคการเปลี่ยนงานสอนเป็นผลงานทางวิชาการ ณ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรังสิต
– วิทยากร เรื่อง แนวทางในการทำวิทยานิพนธ์ทางด้านคอมพิวเตอร์ศึกษา ณ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
– คณะกรรมการประจำส่วนราชการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– คณะกรรมการการบริหารและจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย จังหวัดปทุมธานี (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– คณะกรรมการประจำส่วนราชการ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร คอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร คอมพิวเตอร์ศึกษาและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก)
– ประเมินตำแหน่งวิชาการ ประเมินผลงานเข้าสู่ตำแหน่งชำนาญการ
– วีระพงศ์ เพ็ชรฉกรรจ์ และวุฒิพงษ์ ชินศรี. (2564). การพัฒนาโปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ Lateral Movement จากบันทึกเหตุการณ์ความมั่นคงปลอดภัยของระบบปฏิบัติการวินโดว์. ในการประชุมวิชาการระดับประเทศทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ครั้งที่ 13 (NCIT2021). 28-29 ตุลาคม 2564. กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย. 129-136.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี และวิไลลักษณ์ ตรีพืช. (2564). การพัฒนาระบบบริหารการเข้าร่วมกิจกรรมผ่านไลน์ออฟฟิเชียลแอคเคาท์. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 16(2), 43-56.
– สรรพสิริ แสงประไพ และ วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2561). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างกลยุทธ์การกลายพันธุ์ที่แตกต่างกันของขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมในการแก้ปัญหาการหาเส้นทางการเดินเรือ. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 13. 20 ธันวาคม 2561. กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย. 2338-2348.
– อุดมศักดิ์ เพียรไพโรจน์ และ วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2561). การวิเคราะห์ระดับการสุกของทุเรียนจากการแพร่กระจายของก๊าซเอทีลีนโดยใช้เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราขภัฏกลุ่มศรีอยุธยา ครั้งที่ 9 “วิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคม”. 18-19 ตุลาคม 2561. ปทุมธานี, ประเทศไทย. 517-528.
– Udomsak Paeanpairoj and Wutthipong Chinnasri. (2018). The Analysis of Fruit Ripening Level from Diffusion of Gases by using Data Mining Techniques. International Journal of Pure and Applied Mathematics, 118(18), 3151-3156
– วรรณฤดี พึ่งเฮง และวุฒิพงษ์ ชินศรี. (2560). การเปรียบเทียบแบบจำลองกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 6(2), 136-145.
– พัชรญา ตันติพงศ์อนันต์ และ วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2560). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการทดสอบแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์โดยใช้กลยุทธ์หลายขั้นตอนแบบปรับระดับชั้นที่มีตัวแปรและลำดับในการพิจารณาที่แตกต่างกัน. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 12(2), 29-42.
– วิไลลักษณ์ ตรีพืช และวุฒิพงษ์ ชินศรี. (2559). การพัฒนาระบบวินิจฉัยโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุด้วยออนโทโลยี. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(3), 143-156.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี และวิไลลักษณ์ ตรีพืช. (2559). การพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ สำหรับวิชา IMA105 การโปรแกรมบนเว็บ. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 10(2), 27-37.
– อรุณี สรรสิริทรัพย์ และวุฒิพงษ์ ชินศรี. (2559). การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงในการใช้งานสมาร์ทโฟน ของเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร เฉพาะส่วนกลาง. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(1), 97-107.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี และศิริวรรณ วาสุกรี. (2558). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการวิเคราะห์ข้อสอบปรนัย. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 10(1), 1-7
– ใกล้รุ่ง มูลรัตน์ และ วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2557). การพัฒนาเกณฑ์ในการตัดสินใจเลือกซอฟต์แวร์สําเร็จรูปสําหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ที่เหมาะสมกับความต้องการด้านซอฟต์แวร์ของบุคลากรฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ กรณีศึกษา บริษัท เด็มโก้ จํากัด(มหาชน). ในการประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 9. 16 ตุลาคม 2557. ปทุมธานี, ประเทศไทย. 1105-1115.
– Wutthipong Chinnasri. (2013). Adaptive Probability of Crossover and Mutation in Genetic Algorithm on University Course Timetabling Problem. 2013 IEEE International Conference on Computer Science and Automation Engineering (CSAE2013). 1-3 Nov 2013. Guangzhou, China. 326-330.
– Wutthipong Chinnasri, Soradech Krootjohn and Nidapan Sureerattanan. (2013). The Suitable Genetic Operators for Solving the University Course Timetabling Problem. JCIT: Journal of Convergence Information Technology, Vol. 8, No. 12, pp. 60-66.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2556). การเรียนรู้โดยการสอนผู้เรียนเสมือนร่วมกันผ่านแผนผังมโนทัศน์. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านอีเลิร์นนิงปี 2556. 5-6 สิงหาคม 2556. 182-189.
– Wutthipong Chinnasri, Soradech Krootjohn and Nidapan Sureerattanan. (2012). Performance Study of Genetic Operators on University Course Timetabling Problem. IJACT: International Journal of Advancements in Computing Technology, Vol. 4, No. 20, pp. 61-71.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี, นิดาพรรณ สุรีรัตนันท์ และ สรเดช ครุฑจ้อน. (2555). การแก้ปัญหาการจัดตารางสอนในระดับมหาวิทยาลัยด้วยเมตาฮิวริสติก: การทบทวนวรรณกรรม. วารสารวิจัย มข. ปีที่ 17 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม – สิงหาคม 2555. 639-659.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2555). จอยพลัสเมนู: ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้สำหรับสมาร์ท ดีไวซ์ที่ใช้รีโมทคอนโทรล. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 5. 5-6 กรกฎาคม 2555. 259-264.
– Wutthipong Chinnasri, Soradech Krootjohn and Nidapan Sureerattanan. (2012). Performance Comparison of Genetic Algorithm’s Crossover Operators on University Course Timetabling Problem. 2012 8th International Conference on Computing Technology and Information Management. 24-26 April 2012. Seoul, Korea (South). 781-786.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี และ มนต์ชัย เทียนทอง. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานตามแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้แบบเคดับบลิวแอลพลัส. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3. 25-26 สิงหาคม 2553. 670-676.
– Wutthipong Chinnasri and Nidapan Sureerattanan. (2010). Comparison of Performance between Different Selection Strategies on Genetic Algorithm with Course Timetabling Problem. 2010 IEEE International Conference on Advanced Management Science, 9-11 July 2010. Chengdu, China. 105-108.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2553). การพัฒนาระบบแปลงรูปภาษาสืบค้นธรรมชาติเป็นภาษาเอสคิวแอลเพื่อช่วยในการสอนเกี่ยวกับภาษาเอสคิวแอล เบื้องต้นด้วยวิธีการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. งานประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยรังสิตประจำปี 2553. 1 เมษายน 2553. 257-264.
– วิไลลักษณ์ ตรีพืช และ วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2552). การพัฒนารูปแบบการตอบคำถามโดยใช้คลังคำถาม-คำตอบ สำหรับมหาวิทยาลัยรังสิต. งานประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยรังสิตประจำปี 2552. 2 เมษายน 2552. 345-352.
– วุฒิพงษ์ ชินศรี. (2551). การแปลงรูปภาษาสืบค้นธรรมชาติเป็นภาษาเอสคิวแอล. การประชุมวิชาการระดับประเทศด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 2. 6–7 พฤศจิกายน 2551. 539-545.
งานโครงการ
– โครงการการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนา Digital Platform สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
– โครงการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
– โครงการกิจกรรมพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์รองรับการระบาดของไวรัสโควิด 19 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
– โครงการอบรมนักวิชาการคอมพิวเตอร์และพนักงานคอมพิวเตอร์ประจำหน่วยงานศาลยุติธรรมทั่วประเทศ สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรม
– โครงการอบรมความรู้ด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักวิชาการคอมพิวเตอร์บรรจุใหม่ สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรม
– โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2561 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน